สมัครงานโดยตรง ต้องโทรไปก่อนไหม ? | Q\u0026A 29 | HunterB | สมัคร งาน บริษัท startup

สมัครงานโดยตรง ต้องโทรไปก่อนไหม ? | Q\u0026A 29 | HunterB


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

สมัครงาน​ สัมภาษณ์งาน​ มนุษย์เงินเดือน
Fคอร์สเรียนฟรี!! \”3 ขั้นตอน สมัครงานยังไง ก็ได้งาน!\” สมัครเลย!
👉 https://rdar.li/lbWnVJa
Free EBook “9 เคล็ดลับ เขียน Resume ให้โดดเด่น และได้งาน!”
👉 https://rdar.li/Wel6Blb
________________________________________________________________
สวัสดีครับ น้อง ๆ นิสิต นักศึกษา และ เพื่อน ๆ มนุษย์เงินเดือน ทุกคน
… เนื่องจากโค้ชเบ็น Hunter B ได้รับ คำถามหลังไมค์มาจำนวนมากเกี่ยวกับ ปัญหาต่าง ๆ ที่ มนุษย์เงินเดือน คนทำงาน พบเจอ และหาคำตอบ แก้ปัญหา ในสถานการณ์ตนเองไม่ได้กัน
… โค้ชเบ็น ถือโอกาสสรุป \”Q\u0026A คำถามของมนุษย์เงินเดือน\” พร้อมคำตอบไว้ในแต่ละคลิปคำถาม ครับ
สำหรับคลิปนี้ เราจะมาหาคำตอบกัยครับว่า ทำไม ยื่น Resume สมัครงาน ไปตั้งหลายที่ แต่ไม่ถูกเรียก สัมภาษณ์งาน ซักที ?
✨ สมัครงานโดยตรง ต้องโทรไปก่อนไหม ?
✅ ไปฟังคำตอบ แบบย่อยง่าย กันเลยครับ
________________________________________________________________
ถ้าคุณชอบ VDO นี้ อย่าลืมกด Like 👍 ให้กำลังใจกันนะครับ
📡Subscribe https://youtube.com/HunterB​​
🤝 LET’S CONNECT!
Website บทความ คอร์สเรียน: https://thehunterb.com/​​
Facebook HunterB Page: https://www.facebook.com/hunterb.careercoach
Instagram: https://www.instagram.com/hunterbcontact_th/
LinkedIn: https://www.linkedin.com/in/bensojiphan/
TikTok: https://www.tiktok.com/@thehunter_b​​
________________________________________________________________
สมัครงาน​ คำถามมนุษย์เงินเดือน มนุษย์เงินเดือน​​ HunterB

สมัครงานโดยตรง ต้องโทรไปก่อนไหม ? | Q\u0026A 29 | HunterB

สถานการณ์ Startup ไทย ยังหาแหล่งระดมทุนได้ไหมหลังวิกฤตโควิด-19 | BIZCUIT Ep.6 | workpointTODAY


จากวิกฤตโควิด19 และปัญหาเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นในปีนี้ ทำให้หลายคนที่คิดอยากจะทำธุรกิจ Startup เกิดความกังวลว่าธุรกิจ Startup ในไทยจะยังมีโอกาสที่จะได้รับเงินลงทุนอยู่หรือไม่
แต่หากจับตาดูความเคลื่อนไหวของกลุ่มธุรกิจ Startup ในไทยก็พบว่า ยังมีการลงทุนอยู่อย่างต่อเนื่อง เช่น FINNOMENA บริษัท Startup ด้านการเงินและการลงทุนชื่อดัง ที่เมื่อช่วงต้นเดือนมกราคม 2563 ที่ผ่านมา ได้ประกาศเปิดรับเงินลงทุนรอบ Series B มูลค่า 10 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ โดยมี Openspace Ventures เป็น Lead Investor พร้อมด้วย Gobi Partner และ Premiere Advisory Group ผ่านกองทุน SMEs Private Equity Trust Fund III โดยธนาคารออมสิน
หรือ Digio บริษัท Startup ด้านระบบชำระเงิน ที่ได้รับเงินลงทุนมูลค่า 4 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ใน Series B จากบริษัทด้านเทคโนโลยีการเงินและนักลงทุนชั้นนำ อาทิ PCC บริษัทผู้ให้บริการด้าน Interbank ในไทย และ Beacon Venture Capital บริษัทเงินร่วมลงทุนของธนาคารกสิกรไทย
แต่อย่างไรก็ตามจากสถาณการณ์โควิด19 และสภาพเศรษฐกิจในปัจจุบัน ทำให้สิ่งสำคัญที่นักลงทุนมองในปีนี้คือความเป็นไปได้ทางธุรกิจมากกว่าแค่ไอเดียที่ดูดี แล้วคนที่อยากจะปั้นธุรกิจ Startup ในช่วงนี้ควรทำอย่างไร workpointTODAY จะอธิบายให้เข้าใจกับรายการใหม่ของเรา BIZCUIT กับ นพ พงศธร ธนบดีภัทร
workpointTODAY | What Works Today
ข่าว ข่าววันนี้ ข่าวด่วน ข่าวธุรกิจ
สาระความรู้สำหรับวันนี้
workpointTODAY LIVE
รายการข่าวออนไลน์ พร้อมประเด็นพูดคุยที่น่าสนใจ
ทุกวันจันทร์ศุกร์ 19.30 น. ช่องทางออนไลน์ของเรา
workpointTODAY
ข่าวเวิร์คพอยท์ทีวีช่อง 23 ตลอดทั้งวัน
https://www.facebook.com/NewsWorkpoint/
Website: workpointtoday.com
Facebook: https://www.facebook.com/workpointTODAY/
YouTube: https://www.youtube.com/WorkpointToday
Instagram: https://www.instagram.com/workpointtoday/
Twitter: https://twitter.com/workpointtoday
Tiktok: https://www.tiktok.com/@workpointtoday

See also  ผมไม่อยากนั่งเบาะนิรภัย | ไอติมแสนอร่อย | เพลงเด็ก | เบบี้บัส | Kids Song | BabyBus | เบาะนั่ง

Podcast by workpointTODAY
iTunes https://apple.co/2YBNlG6
Spotify https://spoti.fi/2WQRZzB
Podbean https://workpointtoday.podbean.com

สถานการณ์ Startup ไทย ยังหาแหล่งระดมทุนได้ไหมหลังวิกฤตโควิด-19 | BIZCUIT Ep.6 | workpointTODAY

ชีวิตของนุ้ย | เฮฮาหน้าศูนย์เบรก | บริษัทฮาไม่จำกัด (มหาชน) | EP.68 | 9 ก.พ. 62


ฉากเฮฮาหน้าศูนย์เบรก : ตอน ชีวิตของนุ้ย
ปัญหาผัวเมีย 👋 ช่วยกันคุยให้ที อยากเข้าบ้าน
งานนี้ไม่ลงตัว ถึงเนื้อถึงตัว ลำบากคนกลางเลย
เชิญรับชมได้เลยจ้า
บริษัทฮาไม่จำกัด (มหาชน)
ทุกวันเสาร์ เวลา 17.00 น. ช่อง One 31
บริษัทฮาไม่จำกัดมหาชน
สามารถติดตามได้ใน Facebook Fanpage ได้ที่ลิ้งก์นี้
https://www.facebook.com/hamaijumkud/
และเว็บไซต์ฮาไม่จำกัด (มหาชน) โดยตรง
https://hamaijumkud.com/

สร้างสรรค์ผลงานโดย บริษัท เซ้นส์ เอนเตอร์เทนเมนท์ จำกัด
Powered by ZENSE Entertainment Co., Ltd.
http://www.zense.co.th/

ชีวิตของนุ้ย | เฮฮาหน้าศูนย์เบรก | บริษัทฮาไม่จำกัด (มหาชน) | EP.68 | 9 ก.พ. 62

สรุป วิธีการแบ่งหุ้นในบริษัท จากซีรีส์เรื่อง START-UP


สรุป วิธีการแบ่งหุ้นในบริษัท จากซีรีส์เรื่อง STARTUP
ถ้าเรากับเพื่อน ร่วมก่อตั้งบริษัทแห่งหนึ่งขึ้นมาด้วยกัน
การแบ่งหุ้นในบริษัทให้เราและเพื่อนเท่าๆ กัน ก็ดูเหมือนจะเป็นเรื่องที่ไม่น่าจะมีปัญหาอะไร
แต่สำหรับธุรกิจ Startup อาจไม่ได้เป็นแบบนี้เสมอไป
เพราะการแบ่งหุ้นอย่างเท่าเทียมอาจสร้างปัญหาใหญ่ตามมาในภายหลัง
ซึ่งเราสามารถเรียนรู้เกี่ยวกับการแบ่งหุ้นในธุรกิจ Startup ได้ จากตอนที่ 6 ของซีรีส์เรื่อง “STARTUP” ที่กำลังเป็นที่นิยมใน Netflix ตอนนี้
แล้วซีรีส์เรื่อง Startup บอกอะไรเราไว้บ้าง
และเรื่องนี้สำคัญกับคนที่กำลังจะสร้างธุรกิจ Startup อย่างไร?
เราจะมาคุยกันใน LTG Talk กันค่ะ
สำหรับใครที่ยังไม่ได้ดู ต้องขอเตือนก่อนนะคะว่า ในวิดีโอนี้อาจมีการเปิดเผยเนื้อหาในซีรีส์บางส่วนนะคะ
ซีรีส์เรื่อง STARTUP เป็นเรื่องราวของหนุ่มสาวที่กำลังเดินตามความฝัน ในการสร้างธุรกิจ Startup ให้ประสบความสำเร็จ
ซึ่งตัวละครหลักในเรื่องนี้ ได้ร่วมกันก่อตั้งบริษัท Startup ที่ชื่อว่า “ซัมซานเทค”
โดยที่ ซัมซานเทค เป็น Startup ที่อาศัยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ หรือ AI มาพัฒนาเป็นบริการ เช่น การวิเคราะห์ใบหน้า และลายมือ
ซึ่ง คนแรกที่ก่อตั้งบริษัทนี้ก็คือ คือ “นัมโดซาน” และเขายังเป็นนักพัฒนาคนสำคัญในบริษัทนี้ด้วย
ซึ่งในภายหลัง ก็มี “คิมยงซาน” และ “อีชอลซาน” เข้ามาร่วมสร้างและพัฒนาบริษัทนี้ด้วยกัน
แต่จุดอ่อนของบริษัทนี้อยู่ที่ ผู้ร่วมก่อตั้งทั้งสามคน ล้วนเป็น “นักพัฒนา” หรือ Developer เหมือนกันหมด
ทำให้ ซัมซานเทค ขาดคนที่มีทักษะด้านการบริหาร และไม่มีโมเดลธุรกิจที่ชัดเจน
นอกจากนี้บริษัทยังไม่สามารถโน้มน้าวให้นักลงทุน หรือ VC (ธุรกิจสำหรับการร่วมลงทุน) มาร่วมลงทุนได้
ต่อมาซัมซานเทค ก็ได้พบกับ “ซอดัลมี”
ซึ่งเธอคนนี้มีสิ่งที่ทั้งสามผู้ก่อตั้ง ซัมซานเทค ขาดหายไป
และได้กลายมาเป็น CEO ของซัมซานเทค
ต่อมาเธอก็ได้ชักชวน “จองซาฮา” ให้เข้ามาเป็นดีไซเนอร์ของบริษัทอีกหนึ่งคน
กลายเป็นว่า ในตอนนี้ ซัมซานเทค มีคนที่เข้ามามีส่วนได้ส่วนเสียของบริษัทแล้วทั้งหมด 5 คนด้วยกัน
ซึ่งหลังจากนี้ ทั้ง 5 คนก็ต้องเข้าสู่กระบวนการ “การแบ่งหุ้นในบริษัท”
โดยเริ่มแรก พวกเขาแบ่งหุ้นให้เท่าๆ กัน อย่างเท่าเทียม ดังนี้
นัมโดซาน ถือหุ้น 19%
ส่วนสมาชิกคนอื่นๆในทีม
และพ่อของนัมโดซาน ซึ่งเป็นผู้ออกทุนในช่วงแรก
ก็ได้รับหุ้นไปเท่าๆกันอยู่ที่ 16%
และอีก 1% ที่เหลือ มอบให้กับญาติของนัมโดซาน ผู้ที่เคยช่วยออกแบบและตัดต่อวิดีโอ
ดูเหมือนว่า การแบ่งหุ้นอย่างยุติธรรมในสัดส่วนที่เท่าๆ กันนี้ จะทำให้ทุกฝ่ายพึงพอใจ และยังช่วยป้องกันไม่ให้ใครยึดบริษัทไปเป็นของตัวเองได้ง่ายๆ
แต่อย่าเพิ่งด่วนสรุปไปนะคะ
เพราะสำหรับธุรกิจ Startup การแบ่งหุ้นเช่นนี้อาจส่งผลเสียอย่างที่เราคาดไม่ถึง
สำหรับ Startup ที่เพิ่งก่อตั้งขึ้นมาใหม่ๆ
สิ่งสำคัญที่สุด คือ การสร้างความน่าเชื่อถือ และความเชื่อมั่นให้กับผู้ที่จะเข้ามาลงทุน
เนื่องจากธุรกิจ Startup ส่วนใหญ่จะเติบโตได้ ต้องอาศัยเงินจากนักลงทุน หรือ Venture Capital (VC)
เพื่อให้มีเงินทุนมากพอที่จะนำมาพัฒนาสินค้าและบริการของบริษัท
ดังนั้น การที่ซัมซานเทคแบ่งหุ้นให้เจ้าของแต่ละคนเท่าๆ กัน จะทำให้ผู้ลงทุนมองว่า ผู้นำของบริษัทไม่มีอำนาจที่ชัดเจน และกลายเป็นจุดอ่อนให้กับบริษัทได้
เนื่องจาก “อำนาจ” ในการบริหาร สามารถสะท้อนได้จากจำนวนหุ้นที่ถืออยู่
ยิ่งถือหุ้นอยู่มากเท่าไร อำนาจในการโหวต หรือออกเสียงก็จะมากตามไปด้วย
แต่หากผู้ถือหุ้นทุกคน มีสัดส่วนการถือหุ้นใกล้เคียงกัน
ถ้าในอนาคตผู้ถือหุ้นเกิดมีปัญหากันขึ้นมาแล้วตกลงกันไม่ได้
อีกทั้งต่างฝ่ายต่างก็มีเสียงโหวตเท่าๆ กัน
ในบางกรณีอาจจะจบลงด้วยการยุบบริษัทได้
และนั่นหมายความว่า เงินของผู้ที่เข้าลงทุนจะสูญเปล่าทันที
ดังนั้น ในซีรีส์เรื่องนี้ จึงได้เสนอทางแก้ โดยให้บริษัทเลือก “Keyman” หรือ ตัวหลัก ขึ้นมา 1 คน โดยคนที่เป็น Keyman จะต้องเป็นบุคคลที่บริษัทขาดไม่ได้ และเป็นบุคคลที่สำคัญที่สุดในบริษัท
ซึ่งหลังจากที่เลือก Keyman ได้แล้ว ก็ค่อยรวบรวมหุ้นส่วนใหญ่ไปไว้ที่คนนั้น อย่างน้อย 60% ถึง 90%
ดังนั้นในตอนหลัง ซัมซานเทค จึงได้ปรับสัดส่วนการถือหุ้น ดังนี้
Keyman คือ นัมโดซาน ถือหุ้น 64%
ซอดัลมี ถือหุ้น 7%
คิมยงซาน ถือหุ้น 7%
อีชอลซาน ถือหุ้น 7%
จองซาฮา ถือหุ้น 7%
พ่อของนัมโดซาน ถือหุ้น 7%
ญาติของนัมโดซาน ถือหุ้น 1%
เหตุผลที่ต้องรวบรวมหุ้นจำนวนมากขนาดนี้ไปไว้ที่คนๆ เดียว
ก็เพื่อป้องกันปัญหาไว้ตั้งแต่เนิ่นๆ ก่อนที่จะมีคนเข้ามาลงทุน
เนื่องจากธุรกิจ Startup จะมีสิ่งที่เรียกว่า “การเปิดรอบระดมทุน”
โดยจะมีตั้งแต่รอบ PreSeries และ Series A, B, C และรอบต่อไปเรื่อยๆ
ซึ่งในแต่ละรอบ จำนวนเงินลงทุน และผู้ถือหุ้นหน้าใหม่ ก็อาจเพิ่มขึ้นตามไปด้วย
ดังนั้น หาก Keyman ถือหุ้นในสัดส่วนที่ต่ำ หรือน้อยกว่าครึ่งหนึ่ง
ก็อาจทำให้หลังจากการเปิดรอบระดมทุนไปแล้ว หุ้นส่วนใหญ่จะตกไปอยู่ในมือของนักลงทุนมากกว่า Keyman ได้
ซึ่งนี่อาจสร้างปัญหาตามมามากมาย
ทั้งการสูญเสียสิทธิ์ในการบริหาร และความเป็นเจ้าของบริษัท
หรือไม่แน่ว่า บรรดาผู้ถือหุ้นรายเล็กอาจร่วมมือกับนักลงทุนรายอื่น เพื่อทำการยึดบริษัท และปลด Keyman ออกจากตำแหน่งในการบริหาร ก็เป็นไปได้เช่นกัน
วิธีการแบ่งหุ้นแบบที่ในซีรีส์เรื่องนี้เสนอไว้นั้นใกล้เคียงกับวิธีการแบ่งหุ้นที่เรียกว่า Dynamic Equity Split หรือ DES
วิธีการแบ่งหุ้นแบบ DES ไม่แนะนำให้เราแบ่งหุ้นให้ทุกคนเท่าๆ กัน
แต่จะแนะนำให้แบ่งตาม “ผลงาน”
อย่างไรก็ตาม สัดส่วนในการถือหุ้นอาจมีการเปลี่ยนได้ในอนาคต
โดยจะขึ้นอยู่กับทักษะและความสามารถในการทำงาน หรือ จำนวนผู้ถือหุ้นที่เพิ่มขึ้น เป็นต้น
แต่สิ่งที่สำคัญที่สุดในการแบ่งหุ้น ก็คือ ความชัดเจน
ไม่ว่าจะเป็นบริษัทใดๆ ก็ตาม การแบ่งหุ้นต้องระบุชัดเจน เป็นลายลักษณ์อักษร
เพื่อป้องกันความคลุมเครือ และความขัดแย้ง

See also  ฝึกอาชีพฟรี มีเบี้ยเลี้ยงให้ กับกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน สมัครกันได้ถึง31พค.63 | ศูนย์ ฝึก อาชีพ ชลบุรี
See also  รีวิว Topper ที่นอนระดับหา 5 ดาวแต่ราคาย่อมเยาว์ | ไอเจฟ | ที่นอนท๊อปเปอร์

สรุป วิธีการแบ่งหุ้นในบริษัท จากซีรีส์เรื่อง START-UP

[Behind the Scenes] Nam Joo-hyuk and Kim Seon-ho’s bromance blooms | Start-Up [ENG SUB]


Join in on the fun as the stars of STARTUP prepare for the hackathon, learn how to play GoStop, and joke around in between takes. Our favorite part is seeing the reallife bromance between Nam Joohyuk and Kim Seonho bloom — it soothes our hearts in the best of ways!
Subscribe to The Swoon: https://bit.ly/2IiIXqV
Subscribe to The Swoon: https://bit.ly/2IiIXqV
Follow The Swoon on Instagram: https://www.instagram.com/theswoonnetflix
Watch StartUp on Netflix: https://www.netflix.com/title/81290294

ABOUT THE SWOON
Welcome to The Swoon, your allaccess pass behind the scenes of your favorite Korean and Asian dramas. Get up close and personal with the stars. Tell us what you love to watch, what endings made you want to tear your hair out, and what keeps you coming back for more, ever optimistic that the next one will be The One.
For the fans.
Powered by Netflix.
All biases welcome.
Shows featured might not be available in all markets.

[Behind the Scenes] Nam Joo-hyuk and Kim Seon-ho’s bromance blooms | Start-Up [ENG SUB]

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆHỌC THIẾT KẾ

Leave a Comment